วันพฤหัสบดีที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2556

การแทรกตาราง





<TABLE>...........</TABLE> เป็นคำสั่งที่กำหนดให้โปรแกรมเบราว์เซอร์สร้างตาราง
<TR>...........</TR> เป็นคำสั่งที่ใช้กำหนดแถว (ROW)
<TD>...........</TD>เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดข้อมูลในแต่ละแถว



ตัวอย่าง โครงสร้างของการสร้างตารางในภาษา HTML

<TABLE> 

<CAPTION> ชื่อตาราง </CAPTION>

<TR>
<TH> ข้อมูลส่วนหัว </TH>
</TR> 
<TR> 
<TD> ข้อมูล </TD>
</TR>
<TR> 
<TD> ข้อมูล </TD>
</TR> 
</TABLE>



ตัวอย่าง การสร้างตาราง


                เมื่อพิมพ์ข้อมูลตามตัวอย่างเสร็จแล้วให้จัดเก็บชื่อ TEST_TABLE.HTM และทำการแสดง ผลลัพธ์บนเว็บเบราว์เซอร์จะได้ผลลัพธ์ ดังนี้



คำสั่ง ต่างๆที่ใช้ในการตกแต่งตารางของภาษา HTML 

BORDER ใช้กำหนดความหนาให้กับเส้นขอบของตาราง มีหน่วยเป็น Pixel 
ถ้าไม่ใส่คำสั่งนี้ไว้ด้วย BORDER ก็จะมีค่าเท่ากับ 1 ซึ่งเป็นค่าปกติ คือจะไม่เห็นเส้นขอบของตาราง




       จะได้ผลดังนี้



                                                                          
ALIGN ใช้กำหนดตำแหน่งการจัดวางตาราง มี 3 รูปแบบ คือ 
-LEFT คือ จัดตารางชิดซ้าย (ค่าปกติ) ของจอภาพ 
-RIGHT คือ จัดตารางชิดขวาของจอภาพ
 
-CENTER คือ จัดตารางไว้กึ่งกลางของจอภาพ
 

ตัวอย่าง การสร้างตารางอยู่กึ่งกลางจอภาพ




ทำการแสดงผลลัพธ์บนเว็บเบราว์เซอร์ สังเกตผลลัพธ์ที่ได้จะได้ผลลัพธ์ ดังนี้





WIDTH ใช้กำหนดความกว้างของตารางทั้งหมด มีหน่วย เป็น Pixel หรือ เปอร์เซ็นต์ ก็ได้ 
HEIGHT ใช้กำหนดความสูงของตารางทั้งหมด มีหน่วยเป็น Pixel หรือ เปอร์เซ็นต์ ก็ได้ 

Colspan และ Rowspan 
คำสั่ง <TD  COLSPAN> เป็นคำสั่งในการรวมคอลัมน์เข้าด้วยกัน ตามค่าของจำนวนคอลัมน์ที่กำหนดไว้

รูปแบบคำสั่ง  <TD  COLSPAN = "Number">COLSPAN คือ แอตทริบิวต์ที่ใช้ในการกำหนดการรวมคอลัมน์
- Numberคือ ค่าตัวเลขที่ใช้ในการรวมคอลัมน์เข้าเป็นคอลัมน์เดี่ยวกัน
                                            
คำสั่ง <TD  ROWSPAN> เป็นคำสั่งในการรวมแถวเข้าด้วยกัน ตามค่าของจำนวนแถวที่กำหนดไว้

รูปแบบคำสั่ง  <TD  ROWSPAN = "Number">- ROWSPAN คือ แอตทริบิวต์ที่ใช้ในการกำหนดการรวมแถว- Number คือ ค่าตัวเลขที่ใช้ในการรวมแถวเข้าเป็นแถวเดียวกัน




ผลลัพธ์









ที่มา

https://sites.google.com/site/cirayus/sux-kar-reiyn-ru/kar-srang-tarang













วันอาทิตย์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2556

การแทรกรูปภาพ


 การแทรกรูปภาพ 

ตามปกติภาพที่จะใช้แสดงในเว็บเพจ นิยมใช้ภาพที่มีชื่อสกุลของภาพเป็น .JPG หรือ .GIF เพราะเป็นไฟล์ภาพที่มีขนาดเล็ก สามารถแสดงผลได้รวดเร็ว จึงไม่ต้องเสียเวลาในการรอให้ภาพปรากฏนานเกินไป

 1. ในกรณีที่ไฟล์รูปภาพอยู่ที่เดียวกับเว็บเพจ
Code : <IMG SRC = "ชื่อไฟล์รูปภาพ . นามสกุลไฟล์รูปภาพ">
code ที่เขียนใน notepad คือ




ผลที่แสดงได้




 2.ในกรณีที่ไฟล์รูปภาพอยู่คนละที่กับเว็บ
Code : <IMG SRC = "แฟ้มที่อยู่ของไฟล์รูปภาพ /ชื่อไฟล์ภาพที่เราต้องการแสดง.นามสกุลของภาพ">
code ที่เขียนใน notepa <img src= "img/02.jpg">




ผลที่แสดงได้





การปรับขนาดของภาพ

ในการแทรกภาพเข้าสู่เอกสาร html นั้นขนาดของภาพอาจไม่ตรงตามที่เราต้องการ ซึ่ง html มีคำสั่งสำหรับปรับขนาดภาพโดยนำ width="" height="100" ไปต่อท้ายชื่อภาพภายในคำสั่งแสดงภาพ แล้วปรับขนาดภาพตามต้องการ  ดังตัวอย่าง
<img src="ที่จัดเก็บภาพ\ชื่อภาพ.JPG" width="250" height="350"/>
code ที่เขียนใน notepad คือ


ผลที่แสดงได้



<img src="ที่จัดเก็บภาพ\ชื่อภาพ.JPG" width="700" height="500"/>
code ที่เขียนใน notepad คือ




ผลที่แสดงได้




(1) ALIGN=LEFT กำหนดให้รูปภาพอยู่ทางด้านซ้ายของข้อความ
 <LEFT><IMG SRC="ชื่อภาพ.jpg" ></LEFT>
code ที่เขียนใน notepad คือ




ผลที่แสดงได้




 (2) ALIGN=RIGHT กำหนดให้รูปภาพอยู่กึ่งกลางของข้อความ
<CENTER><IMG SRC="ชื่อภาพ.jpg" ></CENTER>
code ที่เขียนใน notepad คือ




ผลที่แสดงได้





3.ALIGN=RIGHT กำหนดให้รูปภาพอยู่ทางด้านขวาของข้อความ
<P ALIGN =RIGHT><IMG SRC="ชื่อภาพ.jpg" ></ RIGHT>
code ที่เขียนใน notepad คือ




ผลที่แสดงได้





ที่มา